รูปปกคอร์สชีววิทยา ม.ปลาย

ชีววิทยา ม.ปลาย

มีทั้งหมด 29 บทเรียน 88 ตอน โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ดังนี้ เซลล์และหน้าที่ของเซลล์ในสิ่งมีชีวิต / เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชิวิต / ระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย์และสิ่งชีวิต / พืช / ระบบนิเวศและ เทคโนโลยีทางชีวภาพ / พันธุศาสตร์ / อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต / วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เป็นต้น

  • ประเภท: เนื้อหา
  • จำนวนบท: 29
  • จำนวน VDO: 88
  • ความยาววิดีโอ: 73:47ชม.
คำแนะนำ
สารบัญ
เอกสาร

"คอร์สชีววิทยา พื้นฐาน ม.ปลาย เป็นคอร์สเรียนที่เน้นในส่วนของการปูพื้นฐานด้านเนื้อหาให้
กับน้องๆ โดยมีทั้งหมด 29 บทเรียนด้วยกัน

คอร์สชีววิทยา พื้นฐาน ม.ปลาย มีบทเรียน ดังต่อไปนี้ พื้นฐานชีววิทยา / เคมีในสิ่งมีชีวิต /
โครงสร้างและการทำงานของเซลล์ / เมมเบรนและการลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์ /
พลังงาน เอมไซม์ และเมแทบอลิซึม / การหายใจระดับเซลล์ / การสังเคราะห์ด้วยแสง /
เนื้อเยื่อสัตว์และการรักษาดุลยภาพ / การรักษาความเข้มข้มในร่างกาย และการขับถ่าย / การ
ย่อยอาหารในสัตว์ / การลำเลียงสารในสัตว์ / ระบบน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน / การแลกเปลี่ยน
แก๊ส, ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก / ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ / การเคลื่อนไหว
ในสัตว์ / โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ / โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก / การลำเลี้ยงน้ำ
และอาหารในพืช / การสืบพันธุ์และการเจริญของพืชดอก / การตอบสนองและฮอร์โมนพืช /
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส / หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม / หลักพันธุ
ศาสตร์โมเลกุล / พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีทาง DNA / วิวัฒนาการ / หลักอนุกรมวิธานและ
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต / พฤติกรรมสัตว์ / หลักนิเวศวิทยา

โดยภายในคอร์สเรียน สามารถเรียนเนื้อหาตามสารบัญได้เลย หากผู้เรียนทำการเรียนครบทุก
บทเรียนเรียบร้อยแล้ว สามารถทดสอบและวัดความเข้าใจได้ที่ คอร์สชีววิทยา ตะลุยโจทย์ และ
คอร์สชีววิทยา ตะลุยโจทย์พิเศษ"

ครูดร.ศุภรดา คณารักสมบัติ สถาบัน เก่งได้ อะคาเดมี่ ครูหวาย
ดร.ศุภรดา คณารักสมบัติ

ป.เอก วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต วิทย์ฯการแพทย์ แพทยศาสตร์ จุฬาฯ ป.โท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทย์ฯชีวผลิตภัณฑ์ ม.เกษตรฯ ป.ตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) วิทย์ฯชีวภาพ ม.เกษตรฯ

เวลา (นาที)
  • 1. บทนำเกี่ยวกับชีววิทยา
    • บทนำเกี่ยวกับชีววิทยา ,ลักษณะของสิ่งมีชีวิต,ชีววิทยาและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์77
  • 2. เคมีในสิ่งมีชีวิต
    • ตอนที่ 1 ทบทวนหลักเคมีพื้นฐานที่จำเป็น,สัญลักษณ์ธาตุ56
    • ตอนที่ 2 สารอินทรีย์,คาร์บอน35
    • ตอนที่ 3 คาร์โบไฮเดรต,กรดอะมิโนและโปรตีน,กรดนิวคลิอิก,ลิพิด155
  • 3. โครงสร้างและการทำงานของเซลล์
    • โครงสร้างและการทำงานของเซลล์93
  • 4. เมมเบรนและการลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
    • โครงสร้างของเมมเบรน, การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์64
  • 5. พลังงาน เอนไซม์ และเมแทบอลิซึม
    • บทนำเกี่ยวกับพลังงานเมทาบอลิซึม, โครงสร้างของ ATP, เอมไซม์43
  • 6. การหายใจระดับเซลล์
    • บทนำเกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์, ปฏิกิริยารีด็อกซ์, การหายใจแบบใช้ออกซิเจน, การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การสลายโมเลกุลของสารอาหารชนิดอื่น107
  • 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง (3 ตอน)
    • ตอนที่ 1 บทนำเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง, รงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง,ปฏิกิริยาแสง46
    • ตอนที่ 2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง: ปฏิกิริยาแสง, ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอน69
    • ตอนที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง20
  • 8. เนื้อเยื่อสัตว์และการรักษาดุลยภาพ (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 เนื้อเยื่อสัตว์พื้นฐาน, เนื้อเยื่อบุผิว, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน64
    • ตอนที่ 2 เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ, เนื้อเยื่อประสาท, การรักษาดุลยภาพของร่างกาย33
  • 9. การรักษาความเข้มข้มในร่างกายและการขับถ่าย (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 กลไกการรักษาความเข้มข้นในร่างกาย, การขับถ่ายในสัตว์62
    • ตอนที่ 2 การขับถ่ายปัสสาวะในมนุษย์ (ไต)52
  • 10. การย่อยอาหารในสัตว์ (3 ตอน)
    • ตอนที่ 1 บทนำเกี่ยวกับการย่อยอาหารในสัตว์, วิวัฒนาการของระบบย่อยอาหาร37
    • ตอนที่ 2 ระบบย่อยอาหาของมนุษย์66
    • ตอนที่ 3 กลไกการย่อยอาหารและการดูดซึมอาหาร (ตับอ่อน)38
  • 11. การลำเลียงสารในสัตว์ (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การลำเลียงสารในสัตว์, ระบบหมุนเวียนเลือดในมนุษย์ : หัวใจ63
    • ตอนที่ 2 ระบบหมุนเวียนเลือดในมนุษย์ : หลอดเลือด, เลือด61
  • 12. ระบบน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 ระบบน้ำเหลือง,กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะเจาะจง, การอักเสบ,Antimicrobial Proteins73
    • ตอนที่ 2 กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะเจาะจง, Antigen, Antibody, การก่อภูมิคุ้มกันในร่างกาย, ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน86
  • 13. การแลกเปลี่ยนแก๊ส (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การแลกเปลี่ยนก๊าซในสัตว์23
    • ตอนที่ 2 ระบบหายใจของมนุษย์, กลไลการหายใจ, การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลมและเนื้อเยื่อ, การลำเลียงก๊าซ, การควบคุมการหายใจ62
  • 14. ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (5 ตอน)
    • ตอนที่ 1 ภาพรวมของการทำงานของระบบประสาท, เซลล์ประสาทและเซลล์เกลีย50
    • ตอนที่ 2 ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์และกระแสประสาท, การส่งกระแสประสาทบริเวณไซแนปส์54
    • ตอนที่ 3 วิวัฒนาการของระบบประสาท, ระบบประสาทส่วนกลาง, The Human Brain สมองมนุษย์, หน้าที่หลักของไขสันหลัง Spinal Cord43
    • ตอนที่ 4 ระบบประสาทรอบนอก, เส้นประสาทสมองมนุษย์ 12 คู่, เส้นประสาทไขสันหลังมนุษย์ 31 คู่,ระบบประสาทอัตโนมัติ26
    • ตอนที่ 5 เซลล์รับความรู้สึกและอวัยวะรับความรู้สึก54
  • 15. ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 บทนำเกี่ยวกับฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อ37
    • ตอนที่ 2 ไฮโปทาลามัสและต่อมใต้สมอง, ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์, ต่อมหมวกไต, ตับอ่อน, ต่อมไพเนียล49
  • 16. การเคลื่อนไหวในสัตว์ (3 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การเคลื่อนไหวในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์35
    • การเคลื่อนไหวในสัตว์ ตอนที่ 245
    • การเคลื่อนไหวในสัตว์ ตอนที่ 369
  • 17. โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ (5 ตอน)
    • ตอนที่ 1 วิวัฒนาการของระบบสืบพันธุ์ในสัตว์28
    • ตอนที่ 2 ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์เพศชาย60
    • ตอนที่ 3 ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์เพศหญิง71
    • ตอนที่ 4 การปฏิสนธิ21
    • ตอนที่ 5 การเจริญเติบโต53
  • 18. โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การจัดระเบียบของร่างกายในพืช, เนื้อเยื่อพืชดอก84
    • ตอนที่ 2 ระบบอวัยวะของพืช ระบบราก, ระบบลำต้น, ระบบใบ101
  • 19. การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 สิ่งแวดล้อมภายในดิน, การลำเลียงน้ำของพืช, พืชกินสัตว์,การลำเลียงเกลือแร่ในพืช61
    • ตอนที่ 2 การเคลื่ยนที่ของสารอาหารในพืช12
  • 20. การสืบพันธุ์และการเจริญของพืชดอก (3 ตอน)
    • ตอนที่ 1 วงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิต,การสืบพันธุ์ของพืช43
    • ตอนที่ 2 การสร้างเซลส์สืบพันธุ์ของพืชดอก, การปฏิสนธิซ้อนพืชดอก57
    • ตอนที่ 3 การสร้างผลและเมล็ด, การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ24
  • 21. การตอบสนองและฮอร์โมนพืช (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การตอบสนองของพืช, การเคลื่อนที่ของพืช, การเคลื่อนไหวของพืช28
    • ตอนที่ 2 ฮอร์โมนพืช หน้าที่ของฮอร์โมน Auxins, Cytokinins, Gibberellin, Ethylene, Abscisic Acid42
  • 22. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การแบ่งเซลล์ของแบคทีเรีย, ความสัมพันธ์ระหว่าง DNA โครโมทิน และโครโมโซม,วัฏจักรเซลล์และการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส57
    • ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส, การแบ่งเซลล์แบบไอโอซิสกับความแปรผันทางพันธุกรรม49
  • 23. หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (8 ตอน)
    • ตอนที่ 1 คำศัพท์พื้นฐานในทางพันธุศาสตร์34
    • ตอนที่ 2 การศึกษารูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลและกฎเมนเดล38
    • ตอนที่ 3 ความน่าจะเป็นกับพันธุศาสตร์34
    • ตอนที่ 4 ส่วนขยายของกฏเมนเดล14
    • ตอนที่ 5 ยีนที่อยู่บนโครโมโวมเดียวกัน55
    • ตอนที่ 6 เพศและยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ16
    • ตอนที่ 7 พันธุศาสตร์ของมนุษย์25
    • ตอนที่ 8 พันธุศาสตร์เชิงปริมาณ49
  • 24. หลักพันธุศาสตร์โมเลกุล (5 ตอน)
    • ตอนที่ 1 ประวัติการศึกษาค้นคว้าโครงสร้างและบทบาทของสารพันธุกรรม60
    • ตอนที่ 2 โครงสร้างของ DNA และ RNA27
    • ตอนที่ 3 การจำลอง DNA66
    • ตอนที่ 4 ภาพรวมของการแสดงออกของยีน, การถอดรหัสของยีน, รหัสพันธุกรรมและการแปลรหัส65
    • ตอนที่ 5 การกลายพันธุ์43
  • 25. พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีทาง DNA (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 พันธุวิศวกรรมและการโคลนยีน106
    • ตอนที่ 2 การประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี DNA57
  • 26. วิวัฒนาการ (6 ตอน)
    • ตอนที่ 1 การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ, ทฤษฎีการคัดเลือกทางธรรมชาติ55
    • ตอนที่ 2 หลักฐานในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต35
    • ตอนที่ 3 พันธุศาสตร์ประชากรเบื้องต้น52
    • ตอนที่ 4 วิวัฒนาการระดับจุลภาค38
    • ตอนที่ 5 การเกิดสปีชีส์ใหม่และวิวัฒนาการระดับมหภาค30
    • ตอนที่ 6 วิวัฒนาการของมนุษย์40
  • 27. หลักอนุกรมวิธานและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (14 ตอน)
    • ตอนที่ 1 หลักอนุกรมวิธานเบื้องต้น14
    • ตอนที่ 2 อาณาจักรและโดเมนของสิ่งมีชีวิต44
    • ตอนที่ 3 กฎการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต27
    • ตอนที่ 4 การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต, การแบ่งโดเมนของสิ่งมีชีวิต, Bacterai แบคทีเรีย, Archaea อาร์เคีย, Eukara ยูคาเรีย, การเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตในโดเมนต่างๆ23
    • ตอนที่ 5 ไวรัส Viruses and Subviral Agents65
    • ตอนที่ 6 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต โพรคาริโอต,โดเมนแบคทีเรีย, โดเมนอาร์เคีย, รูปแบบของแบคทีเรีย 3 แบบ51
    • ตอนที่ 7 โดเมนอาร์เคีย, กลุ่ม Crenarchaeota, กลุ่ม Euryarchaeota, กลุ่มยูแบคทีเรีย Domain Eubacteria, กลุ่มยูแบคทีเรียแกรมลบ Gram-Negative bacteria, กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก Gram-Positive bacteria, แบคที่เรียที่ทำให้เกิดโรค43
    • ตอนที่ 8 Kingdom Protista อาณาจักร โพรทิสต์, วิวัฒนาการของไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์, วิวัฒนาการของไซโทสเกเลตอน, สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสต์, การสืบพันธุ์ของโพรทิสต์ แบบไม่อาศัยเพศ, การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ, การสืบพันธุ์แบบคอนจูเกชัน51
    • ตอนที่ 9 การแบ่งกลุ่มยูคาริโอต 4 กลุ่มได้แก่, Supergroups Excavata, SAR, Archaeplastida, Unikonta69
    • ตอนที่ 10 โพรทิสต์ Supergroups Archaeplastida, สาหร่ายสีแดง, สาหร่ายสีเขียว, Supergroups Unikonta, อามีบา32
    • ตอนที่ 11 อาณาจักรพืช Kingdom Plantas, การจำแนกกลุ่มของพืช, พืชบก, วงจรชีวิตของพืช,พืชที่มีท่อลำเลียงที่ไม่มีการสร้างเมล็ด,68
    • ตอนที่ 12 อาณาจักรฟังไจ, ลักษณะเด่นของฟังไจ, การสืบพันธุ์ของฟังไจ, การจัดจำแนกกลุ่มของฟังไจ 5 กลุ่ม, Chytridiomycota, Zygomycota, Glomermycota, Ascomycota เช่น ยีส เห็ด, Basidiomycota, ไลเคนส์ (Lichens)30
    • ตอนที่ 13 อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia), การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ, การจัดจำแนกสัตว์ , Tissue level, body symmetry, Germ layers, Coelom, แบบแผนการเจริญในระยะเอ็มบริโอ, การเปรียบเทียบลักษณะสัตว์กลุ่มที่มีการเจริญแบบ Protostome และ Deuterostome24
    • ตอนที่ 14 อาณาจักรสัตว์, การแบ่งไฟลัมสิ่งมีชีวิต, ไฟลัมพอริเฟอรา (Porifera),75
  • 28. พฤติกรรมสัตว์
    • พฤติกรรมสัตว์ (Animal Behavior),ประเภทของพฤติกรรม (Types of Behavior),วิวัฒนาการของพฤติกรรม (Evolition of Behavior),การสื่อส่ารในสัตว์ (Animal Communication),พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavior)48
  • 29. หลักนิเวศวิทยา (2 ตอน)
    • ตอนที่ 1 นิเวศวิทยาระดับสิ่งมีชีวิต, นิเวศวิทยาระดับประชากร43
    • ตอนที่ 2 นิเวศวิทยาระดับกลุ่มสิ่งมีชีวิต, นิเวศวิทยาระดับระบบนิเวศ43
  • 3. โครงสร้างและการทำงานของเซลล์
  • 9. การรักษาความเข้มข้มในร่างกายและการขับถ่าย (2 ตอน)
  • 1. บทนำเกี่ยวกับชีววิทยา
  • 2. เคมีในสิ่งมีชีวิต
  • 4. เมมเบรนและการลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
  • 5. พลังงาน เอนไซม์ และเมแทบอลิซึม
  • 6. การหายใจระดับเซลล์
  • 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง (3 ตอน)
  • 8. เนื้อเยื่อสัตว์และการรักษาดุลยภาพ (2 ตอน)
  • 10. การย่อยอาหารในสัตว์ (3 ตอน)
  • 11. การลำเลียงสารในสัตว์ (2 ตอน)
  • 12. ระบบน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน (2 ตอน)
  • 13. การแลกเปลี่ยนแก๊ส (2 ตอน)
  • 14. ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (5 ตอน)
  • 15. ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ (2 ตอน)
  • 16. การเคลื่อนไหวในสัตว์ (3 ตอน)
  • 17. โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ (5 ตอน)
  • 18. โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก (2 ตอน)
  • 19. การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช (2 ตอน)
  • 20. การสืบพันธุ์และการเจริญของพืชดอก (3 ตอน)
  • 21. การตอบสนองและฮอร์โมนพืช (2 ตอน)
  • 22. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส (2 ตอน)
  • 23. หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (8 ตอน)
  • 24. หลักพันธุศาสตร์โมเลกุล (5 ตอน)
  • 25. พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีทาง DNA (2 ตอน)
  • 26. วิวัฒนาการ (6 ตอน)
  • 27. หลักอนุกรมวิธานและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (14 ตอน)
  • 28. พฤติกรรมสัตว์
  • 29. หลักนิเวศวิทยา (2 ตอน)